MFA Thailand Channel
MFA Thailand Channel
  • Видео 1 234
  • Просмотров 20 139 337
การประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับคู่เจรจา (ตอนที่ 2)
เราคืออาเซียน ตอน การประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับคู่เจรจา (ตอนที่ 2)
ดำเนินรายการโดย คุณสุวิทย์ มังคละ รองอธิบดีกรมอาเซียน
แขกรับเชิญ: คุณนิภัสสร คำภา ผู้อำนวยการ และคุณวันเทพ นาคทิพย์พิมาน นักการทูตปฏิบัติการ
กองสังคมและวัฒนธรรม กรมอาเซียน
#สื่อสารการทูตไทยเชื่อมไทยสู่สากล #Saranromradio #am1575khz #เราคืออาเซียน #ASEAN #อาเซียน
Просмотров: 41

Видео

ทอล์กกับทูต SS2 EP 10 นางสาวภัทรัตน์ หงษ์ทอง เอกอัครราชทูต ณ กรุงนิวเดลี
Просмотров 664 часа назад
ทอล์กกับทูต Season 2 Ep. 10 ฟังเรื่องราวน่าสนใจจากนางสาวภัทรัตน์ หงษ์ทอง เอกอัครราชทูต ณ กรุงนิวเดลี เกี่ยวกับบทบาทและหน้าที่การดูแลคนไทยในอินเดีย #กระทรวงการต่างประเทศ #สื่อสารการทูตไทยเชื่อมไทยสู่สากล #CommunicateXConnect #กต #MFAThai #การทูตเพื่อประชาชน #ทอล์กกับทูต
การประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับคู่เจรจา (ตอนที่ 1)
Просмотров 13014 часов назад
เราคืออาเซียน ตอน การประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับคู่เจรจา (ตอนที่ 1) ดำเนินรายการโดย คุณสุวิทย์ มังคละ รองอธิบดีกรมอาเซียน แขกรับเชิญ: คุณวัลลภา จิตรสมบูรณ์ ผู้อำนวยการกองความสัมพันธ์กับคู่เจรจา และองค์กรระหว่างประเทศ กรมอาเซียน #สื่อสารการทูตไทยเชื่อมไทยสู่สากล #Saranromradio #am1575khz #เราคืออาเซียน #ASEAN #อาเซียน
การประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนและเออาร์เอฟ
Просмотров 15314 дней назад
เราคืออาเซียน ตอน การประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนและเออาร์เอฟ ดำเนินรายการโดย คุณสุวิทย์ มังคละ รองอธิบดีกรมอาเซียน แขกรับเชิญ: คุณวิสิษฐ์ บุญฤทธิพงศ์ นักการทูตชำนาญการ (ที่ปรึกษา) กองการเมืองและความมั่นคง กรมอาเซียน #สื่อสารการทูตไทยเชื่อมไทยสู่สากล #Saranromradio #am1575khz #เราคืออาเซียน #ASEAN #อาเซียน #สัปดาห์อาเซียน
พรรณไม้แห่งแอฟริกา YT HD
Просмотров 5614 дней назад
รายการ “ทรายจรดฟ้า ซะฮาราสู่หิมาลัย” สารพันเรื่องน่ารู้จากเอเชียใต้ เอเชียกลาง ตะวันออกกลางและแอฟริกา ตอน พรรณไม้แห่งแอฟริกา ดำเนินรายการโดย : ณัฎฐ์ สวัสดิ์สาลี แขกรับเชิญ : เตชิต เหมะรักษ์ (นักศึกษาฝึกงาน) #พรรณไม้แห่งแอฟริกา #นักศึกษฝึกงาน #แอฟริกา #เรื่องน่ารู้ #ทรายจรดฟ้าซะฮาราสู่หิมาลัย #ตะวันออกกลาง
วันอาเซียนประจำปี 2567 (ASEAN Day 2024)
Просмотров 15714 дней назад
วันอาเซียนประจำปี 2567 (ASEAN Day 2024) กระทรวงการต่างประเทศจะจัดกิจกรรมเพื่อฉลองวาระครบรอบ 57 ปี การก่อตั้งอาเซียน ในวันที่ 8 สิงหาคม 2567 กระทรวงการต่างประเทศ โดยกรมอาเซียนจะจัดงานวันอาเซียน (ASEAN Day) เพื่อฉลองวาระครบรอบ 57 ปี การก่อตั้งอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations - ASEAN) โดยมีนายมาริษ เสงี่ยมพงษ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ เป็นประธาน กิจกรรมหลักภายในงานประกอบด้...
งานการมอบเข็มกลัดเชิดชูเกียรติ ใบประกาศเกียรติคุณและเสื้อที่ระลึกกงสุลอาสา
Просмотров 3114 дней назад
งานการมอบเข็มกลับเชิดชูเกียรติ ใบประกาศเกียรติคุณและเสื้อที่ระลึกกงสุลอาสา วันที่ 6 สิงหาคม2567 ห้อง Ballroom B โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ เซ็ลทรัล ลาดพร้าว ใบประกาศเกียรติคุณและเสื้อที่ระลึกแก่กงสุลอาสา 3 ราย ตามล าดับ ดังนี้ 1. นางปวีณา หงสกุล 2. นายดำรง พุฒตาล 3. นางสาวผกายมาศ เวียร์รา #เข็มกลับเชิดชูเกียรติ #กงสุลอาสา #กระทรวงการต่างประเทศ #ปวีณาหงสกุล #ดำรงพุฒตาล #ผกายมาศเวียร์รา #วรวุฒิพงษ์ประภ...
คณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (AICHR)
Просмотров 14721 день назад
เราคืออาเซียน ตอน คณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (ASEAN Intergovernmental Commission on Human Rights: AICHR) ดำเนินรายการโดย คุณสุวิทย์ มังคละ รองอธิบดีกรมอาเซียน แขกรับเชิญ: ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร. อมรา พงศาพิชญ์ ผู้แทนไทยใน AICHR #สื่อสารการทูตไทยเชื่อมไทยสู่สากล #Saranromradio #am1575khz #เราคืออาเซียน #ASEAN #อาเซียน #สัปดาห์อาเซียน
สัปดาห์อาเซียน 2567 (ตอนที่ 2)
Просмотров 11128 дней назад
เราคืออาเซียน ตอน สัปดาห์อาเซียน 2567 (ตอนที่ 2) ดำเนินรายการโดย คุณสุวิทย์ มังคละ รองอธิบดีกรมอาเซียน แขกรับเชิญ: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สินีนาฏ เสริมชีพ ผู้อำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย #สื่อสารการทูตไทยเชื่อมไทยสู่สากล #Saranromradio #am1575khz #เราคืออาเซียน #ASEAN #อาเซียน #สัปดาห์อาเซียน
วีดิทัศน์กรมอาเซียน เรื่องที่ 1 ก่อร่างสร้างอาเซียนอดีตถึงปัจจุบันและบทบาทของไทยในอาเซียน
Просмотров 28728 дней назад
วันที่ 8 สิงหาคมของทุกปีเป็นวันครบรอบของการก่อตั้งอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations - ASEAN) โดยผู้แทนประเทศผู้ก่อตั้งอาเซียน 5 ประเทศ ได้แก่ ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย และ ฟิลิปปินส์ ได้ลงนามในปฏิญญาอาเซียน (ปฏิญญากรุงเทพ) ณ วังสราญรมย์ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 นับเป็นจุดเริ่มต้นของอาเซียนอย่างเป็นทางการ อาเซียนได้รวมกันเป็นหนึ่งเดียว ในฐานะองค์การความร่วมมือระดับภู...
สัปดาห์อาเซียน 2567
Просмотров 124Месяц назад
เราคืออาเซียน ตอน สัปดาห์อาเซียน 2567 (ตอนที่ 1) ดำเนินรายการโดย คุณสุวิทย์ มังคละ รองอธิบดีกรมอาเซียน แขกรับเชิญ: จาก C asean 1) คุณสร้อยมุกข์ ยิ่งชัยยะกมล - Senior ASEAN Arts & Cultural Creation Associate 2) คุณภาษิตา มฤคี - ASEAN Learning Program Specialist กองความสัมพันธ์กับคู่เจรจาและองค์กรระหว่างประเทศ กรมอาเซียน #สื่อสารการทูตไทยเชื่อมไทยสู่สากล #Saranromradio #am1575khz #เราคืออาเซียน #...
ศูนย์ส่งเสริมอัญมณีและเครื่องประดับ | เยี่ยมเพื่อน เยือนถิ่น จันทบูร EP.4
Просмотров 50Месяц назад
ย้อนรอยเส้นทางอัญมณีและเครื่องประดับของไทย ตั้งแต่การแปรรูปตลอดจนวิธีการพัฒนาคุณภาพเครื่องประดับ มาร่วมติดตามกันได้ในรายการ "เยี่ยมเพื่อน เยือนถิ่น จันทบูร" ออกอากาศทุกวันพฤหัสบดี ทาง RUclips MFA Thailand Channel และ TikTok MFAThai อย่าลืมกดติดตามเพื่อรับชมเรื่องราวดี ๆ จากกระทรวงการต่างประเทศนะคะ #เยี่ยมเพื่อนเยือนถิ่นจันทบูร #กระทรวงการต่างประเทศ #mfathailand
รีวิว นักศึกษาฝึกงาน กรมความร่วมมือระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ
Просмотров 562Месяц назад
รีวิว นักศึกษาฝึกงาน กรมความร่วมมือระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ : เข้ามาฝึกงานที่นี่ได้อย่างไร ฝึกงานที่กองไหน แล้วต้องทำอะไรบ้าง เราไปรับฟังประสบการณ์จากน้อง ๆ กันเลยค่ะ
กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ
Просмотров 128Месяц назад
กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ
รายการ “ทรายจรดฟ้า ซะฮาราสู่หิมาลัย” ตอน สามนักเขียนรางวัลโนเบลวรรณกรรมจากแอฟริกา
Просмотров 137Месяц назад
รายการ “ทรายจรดฟ้า ซะฮาราสู่หิมาลัย” สารพันเรื่องน่ารู้จากเอเชียใต้ เอเชียกลาง ตะวันออกกลางและแอฟริกา ตอน เปลี่ยนโลกด้วยปลายปากา สามนักเขียนรางวัลโนเบลวรรณกรรมจากแอฟริกา #รางวัลโนเบลวรรณกรรม #วิถีเผ่าแห่งแอฟริกา #เรื่องน่ารู้ #ทรายจรดฟ้าซะฮาราสู่หิมาลัย #ตะวันออกกลาง
การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียน-ญี่ปุ่น
Просмотров 103Месяц назад
การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียน-ญี่ปุ่น
ศูนย์สาธิตและแหล่งเรียนรู้ด้านอัญมณี | เยี่ยมเพื่อน เยือนถิ่น จันทบูร EP.3
Просмотров 43Месяц назад
ศูนย์สาธิตและแหล่งเรียนรู้ด้านอัญมณี | เยี่ยมเพื่อน เยือนถิ่น จันทบูร EP.3
Inside EAD : ทำความรู้จักกรมเอเชียตะวันออกผ่านใน EP1
Просмотров 165Месяц назад
Inside EAD : ทำความรู้จักกรมเอเชียตะวันออกผ่านใน EP1
งานเสวนา "เกร็ดชวนไขของพระไตรปิฎก"
Просмотров 6 тыс.Месяц назад
งานเสวนา "เกร็ดชวนไขของพระไตรปิฎก"
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพาณิชย์นาวี | เยี่ยมเพื่อน เยือนถิ่น จันทบูร EP.2
Просмотров 92Месяц назад
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพาณิชย์นาวี | เยี่ยมเพื่อน เยือนถิ่น จันทบูร EP.2
การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียน - อินเดีย
Просмотров 97Месяц назад
การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียน - อินเดีย
ตะวันตกดิน กลิ่นไอยุโรป ตอน การประชุม Political Consultations ไทย-สเปน ครั้งที่ 6 ณ กรุงมาดริด
Просмотров 140Месяц назад
ตะวันตกดิน กลิ่นไอยุโรป ตอน การประชุม Political Consultations ไทย-สเปน ครั้งที่ 6 ณ กรุงมาดริด
การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสเออาร์เอฟ
Просмотров 83Месяц назад
การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสเออาร์เอฟ
ศาลหลักเมืองจังหวัดจันทบุรี | เยี่ยมเพื่อน เยือนถิ่น จันทบูร EP. 1
Просмотров 115Месяц назад
ศาลหลักเมืองจังหวัดจันทบุรี | เยี่ยมเพื่อน เยือนถิ่น จันทบูร EP. 1
รายการ “ทรายจรดฟ้า ซะฮาราสู่หิมาลัย” ตอน วิถีเผ่าแห่งแอฟริกา
Просмотров 2072 месяца назад
รายการ “ทรายจรดฟ้า ซะฮาราสู่หิมาลัย” ตอน วิถีเผ่าแห่งแอฟริกา
Inside MFA "Weekly Update" 28 มิถุนายน 2567
Просмотров 672 месяца назад
Inside MFA "Weekly Update" 28 มิถุนายน 2567
การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียน
Просмотров 1182 месяца назад
การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียน
การแถลงข่าวประจำสัปดาห์ ในวันพฤหัสบดีที่ 27 มิถุนายน 2567
Просмотров 942 месяца назад
การแถลงข่าวประจำสัปดาห์ ในวันพฤหัสบดีที่ 27 มิถุนายน 2567
การแถลงข่าวประจำสัปดาห์ ในวันพฤหัสบดีที่ 27 มิถุนายน 2567
Просмотров 1182 месяца назад
การแถลงข่าวประจำสัปดาห์ ในวันพฤหัสบดีที่ 27 มิถุนายน 2567
ทอล์กกับทูต SS2 EP.9 นายณัฐวัฒน์ กฤษณามระ เอกอัครราชทูต ณ กรุงเบอร์ลิน
Просмотров 2092 месяца назад
ทอล์กกับทูต SS2 EP.9 นายณัฐวัฒน์ กฤษณามระ เอกอัครราชทูต ณ กรุงเบอร์ลิน

Комментарии

  • @PhornThiwar-t1u
    @PhornThiwar-t1u 5 дней назад

    ดีมากครับ

  • @ChickychicELF
    @ChickychicELF 7 дней назад

    ❤ นี่ก็ทำงานสายภาษามันสนุกจริงๆค่ะ เรียนรู้ทุกวัน ทั้งภาษาเองและวัฒนธรรม หัวจะปวดนะแต่สนุกค่ะ เมื่อก่อนเคยไม่ชอบด้วยแต่หลังๆคงชินเลยสนุกขึ้นมาเอง😂

  • @anuree2516
    @anuree2516 9 дней назад

    สุดยอดค่ะ ขอบคุณค่ะ

  • @arong165sritabon7
    @arong165sritabon7 9 дней назад

    ขอความช่วยเหลือผู้ได้รับการรักษาด้วยค่ะคนนี้เขาถูกส่งไปที่อิรักเมื่อวันทื่ 3 สิงหาค่ะเขาส่งข้อ ความช่วยเหลือมาค่ะเขาส่งเอกสารมาให้ดูคือใบขับขี่และบัตรประชาชนและพาสปอร์ตค่ะเขาได้รับความทุกทรมารอยุ่ในอิรักในค่ายทหารค่ะมีหลักฐานให้ดูอยากให้ช่วยตรวจสอบให้ด้วยนะค่ะ

  • @chickenlover286
    @chickenlover286 10 дней назад

    ถ้า top u อะ โอกาสได้เยอะ

  • @SuperSKY369
    @SuperSKY369 12 дней назад

    🙏เรารักพระมหากษัตริย์💛

  • @NewsFinn
    @NewsFinn 12 дней назад

    ข้อมูลเกี่ยวกับคัมภีร์พุทธศาสนายุคแรกที่เก่าแก่กว่าพระไตรปิฎกเถรวาทที่เราใช้กันอยู่ มีการตรวจสอบอายุจาก คาร์บอน 14 และจากภาษาที่ใช้ ซึ่งคัมภีร์ทางพุทธศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดที่ค้นพบในปัจจุบันคือ Gandhāran Buddhist texts ซึ่งหนึ่งใน collection ที่แปลโดย Richard Salomon มีการตีพิมพ์เป็นหนังสือชื่อ “Buddhist Literature of Ancient Gandhara” มีการตรวจสอบอายุด้วยคาร์บอน 14 ที่ ANSTO ให้ช่วงอายุระหว่าง 206 BCE - 59 CE และที่ University of Arizona ให้ช่วงอายุอยู่ที่ 39 BCE - 133 CE เนื้อหาหลักๆที่แปลออกมาจะเกี่ยวข้องกับ ประวัติพระพุทธเจ้า 13 พระองค์ ซึ่งรายพระนามจะสอดคล้องกับใน มหาปทานสูตร ของพระไตรปิฎกเถรวาท และคัมภีร์พุทธวงศ์ครับ นอกจากนี้ ใน collection อื่นๆ ก็มีผู้แปลท่านอื่นๆได้ทำไว้ โดยสรุปแล้ว มีเนื้อหาที่ตรงกับพระไตรปิฎกเถรวาท คือ 1) The British Library Collection มีเนื้อหาตรงกับของเถรวาท ในส่วน ธรรมบท (Dhammapada) ขัคควิสาณสูตร ( Rhinoceros Sutra) ชาดก หรือ อวทาน (Avadana) เป็นต้น 2) The Senior Collection มีเนื้อหาตรงกับของเถรวาทในส่วน สังยุตตนิกาย 3) The Schøyen collection มีเนื้อหาเกี่ยวกับ บารมี 6 ประการ สอดคล้องกับของเถรวาท ในส่วน ทศบารมี และ สอดคล้องกับปรัชญาปารมิตา ของนิกายมหาสังฆิกะยุคแรกๆ 4) Library of Congress เนื้อหาตรงกับ มหาปทานสูตรของเถรวาท และคัมภีร์พุทธวงศ์ กล่าวถึงประวัติพระพุทธเจ้า 13 พระองค์ เนื่องจากส่วนท้ายของพระสูตรขาดหายไป ผู้แปลจึงตั้งชื่อว่า พหุพุทธสูตร (Bahubuddha Sutra) เพราะเนื้อหาไปคล้ายคลึงกับ Bahubuddha Sutra ของคัมภีร์ มหาวัสตุ (Mahāvastu) ซึ่งมีอายุเก่าแก่ใกล้เคียงกัน คืออายุอยู่ในช่วง 200 BCE เป็นคัมภีร์ของนิกายมหาสังฆิกะ เช่นนิกายโลกุตตรวาท (Lokottaravāda) เนื้อหาในคัมภีร์นี้น่าสนใจมากครับ เพราะสอดคล้องกับพระไตรปิฏกเถรวาทหลายส่วน เช่น มีเนื้อหาตรงกับใน อัคคัญญสูตร ชาดก เถระคาถา ชื่อของสวรรค์ และนรกขุมต่างๆ นอกจากนี้ยังปรากฎพระนามพระพุทธเจ้าในอดีตมากกว่า 300 ล้านพระนาม ซึ่งมีซ้ำกันบ้าง ต่างกันบ้าง เป็นเหตุการณ์ที่พระพุทธองค์ กล่าวกับพระมหาโมคคัลลานะครับ * ข้อสังเกตคือหลักฐานคำสอนของพุทธศาสนาดั้งเดิม หรือที่เรียกว่าพุทธศาสนาก่อนแยกนิกาย ; EBT (Early Buddhist Texts) จะมีปรากฎอยู่ในนิกายของพุทธศาสนายุคแรกๆ ไม่ว่าจะนิกายใดก็ตาม จะมีหลักฐานคำสอนดั้งเดิมปรากฏอยู่ครับ

  • @user-ni3xv2zi5j
    @user-ni3xv2zi5j 13 дней назад

    ยามอุบากอง ขอพระองค์ทรงมีพระชนมายุยิ่งยืนนาน😊❤

  • @Miw-ft1pq
    @Miw-ft1pq 13 дней назад

    ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน❤

  • @kunsirijoy9637
    @kunsirijoy9637 19 дней назад

    6:03 ธงชาติสิงค์โปร์ซ้ำหรือเปล่าคะ😊

  • @jidapapuangkaewknudsen7768
    @jidapapuangkaewknudsen7768 19 дней назад

    จริงค่ะ ไม่ได้ง่ายเลย เราว่าที่ดาวน์โหลดส่งไปก็คือสะดวกเจ้าหน้าที่ ด้วนความที่ยุ่งยาก เราเคยโทรไปตม.ที่ไทยบอกว่าจะขอต่อวีซ่าที่ไทยให้แฟน แต่แฟนมีตั๋วขาเดียว ทางตม.บอกว่าแต่งงานมีเอกสารครบ ก็ไปต่อที่ไทยได้ 📌แต่ปัญหาคือไม่ผ่านตรงเช็คอินกับสายการบินค่ะ 📌📌แต่มีคนไทยที่รู้จักกัน สามีเขาซื้อแต่ตั๋วขาเดียวและไม่มีวีซ่าจากต้นทาง เขาไปต่อสีซ่าที่ไทย เขาผ่านการเช็คอินที่สายการบินออกทุกครั้งเลยค่ะ #เรางงมาก เราขอวีซ่าให้สามีมาตลอด แค่มีครั้งเดียวปีที่แล้วเพราะไม่ได้เดินทางด้วยกัน สามีโดนปฏิเสธไม่ให้ขึ้นเครื่องเลยค่ะ ยื่นทางออนไลน์ไม่ได้ง่ายดั่งที่บอกนะคะกับคนที่ไม่คล่องโหลดเอกสาร โทรไปสถามฑูตถือสายเป็นชั่วโมงก็ไม่มีคนรับ บอกว่าคิวที่1

  • @nadechphupat314
    @nadechphupat314 21 день назад

    ขอพระองค์ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน

  • @user-bu4ju1ce4d
    @user-bu4ju1ce4d 22 дня назад

    ผู้เห็นธรรมมี ๓ ฐานะ พระสัทธรรมมีหนึ่งเดียวทุกพุทธสมัย สมัยพุทธกาล ร่ำเรียนตามหลักสากัจฉสูตร ๕ และจากพระอเสขะผู้มีคุณสมบัติ๕ ครบ ผู้พิจารณาตามจิตที่วิมุตติ ๑ และผู้บรรลุปฎิสัมภิทา ๑/๑๖ พระโปฐิละทรงพระไตรปิฎก ๗ พุทธสมัย และ พระปฎิสัมภิทาผู้สามารถอัญเชิญพระสัทธรรมลงมาประดิษฐานบนโลกมนุษย์ แล้วประชุมสังคายนา ตรวจทานจากพระสัทธรรมเจ้าองค์จริงอีกครั้งตามกิจพระสาวก หลักมหาปเทส๔ ตามหลังมา เรื่องนี้มีมาแต่พุทธปาสาทิกสูตร/สังตีติสูตร พึงจดจำไว้ให้ดี มีแต่ผู้เห็นธรรมเพียงเท่านั้นที่สามารถจักเห็นอักษรของพระสัทธรรมอันทรงเป็นอกาลิโก โดยสกานิรุตติ ขออนุโมทนาฯ จรรโลงพระพุทธศาสนาได้ดีแล้ว ที่ไม่เขียนตัวหนังสือ เพราะมีพระปฎิสัมภิทา อยู่! ด้วยเหตุนี้ในการสังคายนาทุกๆครั้งจึงต้องนิมนต์ผู้ได้ปฎิสัมภิทาเป็นหลักหรือผู้ที่เชี่ยวชาญวสี๕ เข้าฌานไปตรวจสอบได้เพียงเท่านั้น!

  • @NickPissanu
    @NickPissanu 22 дня назад

    รักทุกพระองค์ครับ 😊

  • @TuTu-x8d
    @TuTu-x8d 25 дней назад

    ค่ะ

  • @thanongpandech9044
    @thanongpandech9044 28 дней назад

    ขออนุโมทนากับคณะผู้จัดทำพระไตรปิฎกเผยแผ่ครั้งนี้ คำสอนของพระพุทธเจ้าเป็นสิ่งที่มีค่ามากไม่มีอะไรเสมอเหมือนทั้งในสามโลก

  • @user-zc4db7cz7q
    @user-zc4db7cz7q 29 дней назад

    นาย..วัน..นาย...

  • @user-zc4db7cz7q
    @user-zc4db7cz7q 29 дней назад

    เหตุการ.สลด.คาดไม่ถึง.

  • @user-zc4db7cz7q
    @user-zc4db7cz7q 29 дней назад

    แต่ละประเทศ.2.ชม..แต่ละประเทศ.

  • @jaruwanjuysuka3831
    @jaruwanjuysuka3831 Месяц назад

    ขอพระองค์ทรงพระเกษมสำราญ..ทรงพระเจริญยิ่งยืนนานพระเจ้าข้า..ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะฯ❤❤❤❤❤

  • @user-zc4db7cz7q
    @user-zc4db7cz7q Месяц назад

    หนังสือ.เกินทางตนเอง.

  • @shinbudnawakun3297
    @shinbudnawakun3297 Месяц назад

    สาธุขอบคุณครับ

  • @cara2001
    @cara2001 Месяц назад

    ปีนี้จะมีอีกมั้ยคะ

  • @user-sn6os5vv3u
    @user-sn6os5vv3u Месяц назад

    นิติศาสตร์จุฬา​ แล้วเขียนตำรากฎหมายมาใช้ตามชาติฝรั่ง​ จนกฎหมายไร้ความน่าเชื่อถือ​ แล้วกลับไม่คิดว่าเราโดนหลอก​ แต่ขึ้นแล้วมันลงยาก​ นักกฎหมายกลายเป็นนักธรรมไปสะงั้น​ มันถึงวุ่นวายไปเรื่อย​ แน่ใจว่าที่ทำกันไปเป็นคุณต่อชาติศาสนกษัตริย์​อ

  • @natsayapan5911
    @natsayapan5911 Месяц назад

    45ปี พระธรรม คำสอน พระสูตร ไม่มีคำว่าเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา นั่นเป็นการพยายามโน้มเข้ามาอธิบายในฉบับของตน ในสมัยของตน

  • @viphasantivongse8600
    @viphasantivongse8600 Месяц назад

    น้อมจิตขออนุโมทนาค่ะ

  • @user-qu4jd8yu7m
    @user-qu4jd8yu7m Месяц назад

    เปรียบธรรมไทยไม่ได้เรียนพระไตรปิฎก แต่เปรียบธรรมพม่าเรียนพระไตรปิฎก

  • @Sammephisan
    @Sammephisan Месяц назад

    แกนสารของพระไตรปิฎก​ คือรักษา​ คำสอนของพระพุทธ​เจ้า​

  • @yaiemeny2437
    @yaiemeny2437 Месяц назад

    พระพุทธเจ้า ทรงตรัสว่า... การขับร้อง คือ..การร้องไห้ ในวินัยของพระอริยะเจ้า ฯลฯ... จงละเสียโดยเด็ดขาดในการขับร้อง ฯลฯ จาก พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่ม 20/247/547. โรณสูตร.

  • @Onemicrosoft
    @Onemicrosoft Месяц назад

    🍒 spinning ®™

  • @Onemicrosoft
    @Onemicrosoft Месяц назад

    AB kCBrore broker in g8 iiiiiiiii share market business FOMO2050

  • @Onemicrosoft
    @Onemicrosoft Месяц назад

    Tẽt(nOOB) [ameba]

  • @JeeKakul-lk5gz
    @JeeKakul-lk5gz Месяц назад

    คุณหมอ.รามาด้วยใช่มั้ยครับ

  • @commonla1
    @commonla1 Месяц назад

    รอep2

  • @user-mt2ey6wt5y
    @user-mt2ey6wt5y Месяц назад

    ข้อแสดงความเห็นดังนี้ 1 พระไตรปิฎก 84000 พระธรรมขัน มีหัวใจหลักในการบรรลุธรรม อยู่ 2 ประการคือ - ต้องคิด พิจารนา และสร้างจินตนาการให้ได้ว่า เรา ไม่มีตัวตน จึงไม่มีคน สัตว์ สิ่งของต่างๆ มีแต่ความว่างเปล่า นั่นคือ สิ่งที่เราเห็น จริงๆแล้วไม่ใช่เราที่เห็น "เห็นจึงเป็นแค่เห็น ไม่ใช่เราที่เห็น " ได้ยิน เป็นแค่เสียง ไม่ใช่เราที่ได้ยิน " ความ ทุกข์ หรือกิเลสทั้งหลาบ ย่อมเกิดขึ้นไม่ได้ - ต้องคิด พิจารนา สร้างจินตนาการให้ได้ว่า รูปนี้ กายนี้ ขันร์5 นี้ ไม่ใช่เรา เมื่อไม่ใช่เรา ทุกข์ กิเลสทั้งหลายยอมไม่เกิดขึ้น ทั้งสองประการนี้ ถ้าผู้ใดทำได้ คือผู้บรรลุธรรมชั้นโสดาบัน นี่คือส่วนหนึ่งของความคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริงในพระไตรปีฏก การคิด การพิจารนา การไตร่ตรอง การสร้างจินตนาการ ไม่ใช่หนทางสู่ความรู้แจ้ง แต่เป็น " เจตนา " ที่เป็นกิเลสที่รุนแรงที่สุด ถึงขนาด ต้องโกหกตัวเองหรือหลอกตัวเอง ว่า รูปนี้ กายนี้ ไม่มีอยู่จริง และไม่ใช่เรา 2 ข้อความในพระไตยปีฏกเมื่อแปลมาแล้วขัดแย้งกันเอง เช่น นักบวชสอนให้เราทำความดี ให้เราทำบุญ สอนว่าทำบุญอย่างนั้นอย่างนี้จะมีอนิสงอย่างนั้นอย่างนี้ ถามว่า เราจะทำในสิ่งนี้เพื่ออะไร ในเมื่อมีแต่ความว่างเปล่า ตัวตนก็ไม่มี ขันร์5 ก็ไม่ใช่เรา และถ้าเราทำความดี ทำบุญ แล้ว จะทำให้เราเห็นจริงได้ไม๊ว่า กายนี้ รูปนี้ไม่ใช่เรา 3 ข้อความในพระไตยปีฏก คลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง และขัดแย้งกันเช่น ตัวตน ไม่ได้หมายความถึงรูปร่าง แต่หมายถึงผลอันเกิดจากการรวมตัวของสัพสิ่งต่างๆ หรือผลอันเกืดจากคุณสมบัติของสัพสิ่งนั้นๆ เมื่อเอามาหลอมรวมกันมันจึงหาตัวตนที่แท้จริงไม่ได้เช่น การเกิดขึ้นของน้ำแกงสม วีธีทำแกงสม ตั้งน้ำให้เดือด ใส่พริกแกงสม ใส่เกลือ น้ำตาล น้ำปลา มะขามเปียก ผสมรวมกัน จึงสมมุติเรียกว่าน้ำแกงส้ม มีลักษณะทางกายภาพเป็นของเหลว สีแดงปนส้ม เมื่อชิมรสชาดจะมีความเผ็ด เปรี้ยว หวาน เค็ม นี่ละน้ำแกงสมจึงไม่มีตัวตนที่แท้จริง ตรงนี้ ไม่ได้หมายความว่า "ไม่มีน้ำแกงสมเกิดขึ้น" น้ำแกงสมจึงมีอยู่จริง เกิดขึ้นจริง ดังนั้น จึงมี คน สัตว์ สิ่งของต่าง ไม่มีความว่างเปล่า ไม่ใช่เรา คือการทำงานของขันร์5 ที่มีผัสสะเป็นต้นกำเนิด ขันร์5 ทำหน้าที่และการงานเป็นอัตโนมัติ แม้แต่ตัวเราเองก็ไม่สามารถไปควบคุม บังคับบัญชาขั นร์ 5 ให้ทำตามที่ตนต้องการได้ ขันร์5 ทำหน้าที่ของเขาเองตามเหตุและปัจจัยที่มากะทบ แต่ไม่ได้หมายความว่า " เราไม่รู้" เพราะเรารู้ จึงเกืดสัพสื่งต่างมากมายโดยฝีมือมนุษย์ โดยอาศัยเหตุและปัจจัย แต่มนุษย์ไม่รู้ตัว รวมทั้งเกิดบางสิ่งบางอย่างในจิตใจเราดัวย อันเนื่องมาจากการทำงานของขัรน์5 ดังนั้น คำว่าไม่ใช่เรา จึงไม่ได้หมายถึงขันร์5 แต่หมายความว่า ไม่ใช่เรา หรือไม่มีเรา ไปควบคุมบังคับบัญชาขันร์5 ให้ทำตามที่ตนต้องการได้ แต่เมื่อไหร่ที่ขันร์5 ทำงานครบองค์ประกอบเราจะรู้ทันที ในอารมย์ที่เกิดขึ้น เราจึงรู้ ว่าเราโกธร รู้ว่ารัก รู้ว่าเจ็บ ขันร์5 คือเรา เป๋นของใครของมัน หลักเหตุและปัจจัยของพระพุทเจ้า คืออกาลิโก ความจริง ที่ไม่สามารถเปลี่ยนได้ มนุษย์นำเอาหลักเหตุและปัจจัยนี้ไปใช้ โดยไม่รู้ตัว ทำให้เกิดสัพสิ่งต่างๆเกิดขึ้นมากมายนับไม่ถ้วน เช่นการเกิดขึ้นของปูนขาว เมื่อมนุษย์เอาเปลือกหอยมาเผาไฟ เพราะเหตุแห่งความร้อน มีอุณหภูมิเป็นปัจจัย ทำให้เปลือกหอยและคุณสมบัติของเปลือกหอยค่อยๆเปลี่ยนไป เป็น เปาะและแตกง่าย นำไปบดเป็นผงละเอียด สมมุติเรียกว่า ปูนขาว พร้อมทั้งมีคุณสมบัตืใหม่เกิดขึ้น หลักของเหตุและปัจจัยคือการเปลี่ยนสื่งหนึ่งให้เป็นอีกสื่ง หนึ่ง หรือทำให้สิ่งใดสิ่งหนึ่งเกิดขึ้น เกิดได้ทั้งรูปและนาม นั่นหมายความว่า หลักของเหตุและปัจจัย สามารถค่อยๆเปลี่ยนจิตใจของเราได้ ถ้าหลักธรรมในพระไตยปีฏกคลาดเคลื่อนจากความเป็ยจริง อะไรจะเกิดขึ้นภายในจิตใจท่านคงคิดเองได้ ไม่มีนักบวชท่านใด ปถุชนคนใด บรรลุธรรม หรือพ้นทุกข์ได้ ในหลักธรรมนี้ เพราะความคลาดเคลื่นจากความเป็นจริง และไม่มีนรก สวรรค์ เทพ เทวดา ให้ไปจุตติ ในธรรมชาตินี้ มีแต่สัพสัตว์ทั้งหลายนับไม่ถ้วน คอยอยู่ แม้แต่ความเป็นนุษย์ก็เป็นไม่ได้

  • @mspimmykwn7297
    @mspimmykwn7297 Месяц назад

    ขอพระองค์ทรงพระเจริญ❤❤❤❤

  • @vayopanyavhadhi3009
    @vayopanyavhadhi3009 Месяц назад

    ในพระไตรปิฏก พระศาสดาอรหันตสัมมาสัมพุทธ ทรงอนุญาติให้สาวกทั้งสี่คือภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ถ่ายทอดบอกสอนและเรียนรู้ด้วยสำเนียงภาษาของตนๆ ส่วนการสัชฌายะนั้นคือการอ่านธรรมดาในภาษานั้นๆ ไม่มีทำนองหรือขับเสียงสูงต่ำ ทรงไม่ให้แต่งเติมหรือเพิกถอนสิ่งที่ทรงบัญญัติ อันนี้จะเป็นเหตุแห่งการเสื่อมของคำตถาคต

  • @Wirat-ot4sx
    @Wirat-ot4sx Месяц назад

    ขอพระองค์ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน

  • @nanrsruang4665
    @nanrsruang4665 Месяц назад

    ทรงพระเจริญ

  • @doldhan
    @doldhan Месяц назад

    43:33 - 54:20 คุณวิว point of view

  • @pongpalanun
    @pongpalanun Месяц назад

    เป็นอะไรที่ยากที่สุด.. เกินฐานะ​ ที่จะมีผู้รับรองว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้อง... .. ครั้งแรกเริ่มของพระไตรปิฎก​ เป็นภาษาอะไร​ แล้วพูดเรื่องอะไรบ้าง.. .. พระ​พุทธเจ้า​ พูดภาษาอะไร... .. พระไตรปิฎก​ ทั้งหมด​ เป็นสิ่งที่พระ​พุทธเจ้า​ พูดเองทั้งหมด​ ใช่หรือไม่.. .. อุปมาได้ว่า​ เราเอาทรายที่วัด​ ไปผสมกับทรายจากหาดบางแสน... ใครจะแยกออกได้​ ว่า​ เม็ดไหนเป็นทรายจากบางแสน... .. คนที่แตกฉานในตำรา​ จะมองออกว่า​ มีการผสมปนกัน​ ของตำราทุกเล่ม.. ( อย่างที่ท่านพุทธ​ทาส​ ว่าไว้​ )​..

    • @user-qu4jd8yu7m
      @user-qu4jd8yu7m Месяц назад

      อย่าพูดพล่ามเลย ไปศึกษาเสพคบดูเถิด ท่านจะรู้ว่าอะไรเป็นอะไร

  • @user-fv9fx3kz9g
    @user-fv9fx3kz9g Месяц назад

    วิทยากรตอบปัญหาไม่ตรงประเดน งานเสวนา ควรเชิญวิทยากรที่เก่งเฉพาะทางมาด้วย ถ้าจะให้มีการถามปัญหา

    • @user-sn6os5vv3u
      @user-sn6os5vv3u Месяц назад

      นักกฏหมาย​ ที่ฟ้องกันวุ่นวายก็เพราะนักกฏหมายหัวดี​ รู้ไปหมดแบบนี้ไงตรับ

  • @cokycoffee5882
    @cokycoffee5882 Месяц назад

    🙏🏻🙏🏻🇹🇭💎💎👑💎💎🇹🇭🙏🏻🙏🏻

  • @somkhuanp2639
    @somkhuanp2639 Месяц назад

    รอติดตามตอน 2 ครับ

  • @kaiyasitchaisompee5454
    @kaiyasitchaisompee5454 Месяц назад

    พี่วิววววววววว❤❤❤🎉🎉🎉

  • @thuchphonboonrat2354
    @thuchphonboonrat2354 Месяц назад

    ทำไมไม่พูดถึงกรุงธนบุรีด้วยครับผม เพระเจ้าตากก็มีส่วนในการนำพระไตรปิฏกเข้ามาในช่วงพระองค์ครองราชเหมือนกัน เราเอามาจากเวียงจันทน์ ในพม่ากะมีพระไตรปิฎกเหมือนและอีกหลายที่ครับ ชื่นชมทุกท่านครับ คุณวิวพูดดีมาก

  • @user-vf6rg8gf6k
    @user-vf6rg8gf6k Месяц назад

    ทรงพระเจริญ

  • @MadMonkey8642
    @MadMonkey8642 Месяц назад

    คุณค่าของพระไตรปิฎก คือ การรักษาไว้ซึ่งเนื้อความของพระธรรมและพระคาถา ผู้แปลภาษาก็มีหน้าที่ที่จะต้องแปลให้ได้เนื้อความตรงถูกต้องตามเนื้อหาที่แปลมา ส่วนเมื่อแปลแล้วจะอ่านแล้วเข้าใจหรือไม่นั้นไม่สำคัญ เพราะผู้แปลอาจจะมีความรู้ไม่พอ เป็นหน้าที่ของพระหรือฆราวาสที่จะต้องทำคำความอธิบายกำกับไว้ เช่น อรรถกถาเป็นต้น เนื้อความของอรรถกถา อาจจะถูกต้องหรือผิดก็ได่ ผู้ศึกษาพระไตรปิฎกจะทราบเองด้วยปัญญาของเขาตราบที่เนื้อความของพระไตรปิฎกยังถูกต้องและถูกรักษาไว้ ความผิดพลาดเคยเกิดขึ้นมาแล้วเมื่อมีการจัดทำพระไตรปิฎกแปลฉบับมหาจุฬา ฯ ความตั้งใจที่จะแปลให้คนอ่านแล้วเข้าใจง่ายกลับกลายเป็นการเปลี่ยนเนื้อความไป ดีว่าฉบับหลางและฉบับมหามกุฏ ฯ ยังคงมีให้เลือกศึกษาอยู่ จึงขอวิงวอนท่านทั้งหลายโปรดระลึกในข้อนี้ไว้ วิชาการของพระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นที่สุดแล้ว คือ ไม่สามารถวิวัฒนาการต่อไปจากนี้ ถ้าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงก็จะมีแต่เปลี่ยนไปในทางที่เสื่อมลงเท่านั้น ควรช่วยกันรักษาไว้ให้ดี

  • @user-sx3ti3sf5c
    @user-sx3ti3sf5c Месяц назад

  • @user-sx3ti3sf5c
    @user-sx3ti3sf5c Месяц назад